LCRM Newsletter Vol.11 Q3-2020

Information Risk - Case Study

20 มีนาคม 2 วันหลังโดนเปิดโปง “รัฐสภำสหรัฐฯ” ต้องลง มาสอบสวนเรื่องนี้ เนื่องจากเหตุข้อมูลส่วนตัวรั่วไหล ถือ เป็นวาระสาคัญของประเทศ ขณะที่ฝั่งอังกฤษ “รัฐสภำ อังกฤษ” เรียก “คริสโตเฟอร์ ไวลีย์” มาให้หลักฐานเกี่ยวกับ “เคมบริดจ์ อะนำไลติก้ำ” 21 มีนาคม นี่เป็นเรื่องใหญ่ ที่แม้แต่ “มำร์ค ซัคเคอเบิร์ก” เจ้าของเฟซบุ๊ก ก็ไม่สามารถอยู่เฉยๆได้ เขาจาเป็นต้องยืนยัน ความปลอดภัยของเฟซบุ๊ก ว่าเหตุการณ์ล้วงข้อมูลแบบนี้จะ เกิดขึ้นอีกหรือไม่

การแถลงข่าวอย่างตรงไปตรงมา และยอมรับความผิด โดยตรง ทาให้ “หุ้นของเฟซบุ๊ก” กระโดดขึ้น 4.5% ในวัน เดียวในมุมของ “เฟซบุ๊ก” พวกเขาก็เป็นเหยื่อของ “เคม บริดจ์ อะนำไลติก้ำ” เช่นกัน อย่างไรก็ตาม “เฟซบุ๊ก” ไม่สามารถปฏิเสธความรับผิดชอบ ได้ “รัฐบำลสหรัฐฯ” สั่งปรับเงิน “5,000 ล้ำนดอลลำร์ สหรัฐฯ (150,000 ล้ำนบำท)” โทษฐาน “ทำข้อมูลส่วนตัว ของประชำชนรั่วไหล” ซึ่งเป็น “โทษปรับที่สูงที่สุดใน ประวัติศำสตร์ของประเทศสหรัฐอเมริกำ” ด้วย

แม้จะไม่สามารถมีบทลงโทษเชิงกฎหมายได้ แต่ชื่อเสียง ของ “เคมบริดจ์ อะนำไลติก้ำ” ในการ “ลักลอบใช้ข้อมูล ส่วนตัว” ก็โด่งดังไปทั่วโลก ส่งผลทาให้ไม่มีใครกล้าใช้ บริการของ “เคมบริดจ์ อะนำไลติก้ำ” อีก

10 เมษายน 2018 “มำร์ค ซัคเคอร์เบิร์ก” ขึ้นให้การกับ “วุฒิสภำสหรัฐฯ” เพื่ออธิบายถึงเรื่องที่เกิดขึ้น และยืนยันว่า ได้จัดการอุดรอยรั่วทั้งหมดแล้ว “เรำไม่ได้ดูแลอย่ำงดีพอ ซึ่งนั่นเป็นควำมผิดพลำดครั้งใหญ่ ของผมเอง ผมขอโทษกับเรื่องที่เกิดขึ้น ผมเริ่มต้นเฟซบุ๊ก ด้วยตัวเอง และเป็นคนรับผิดชอบเรื่องนี้” “ตอนที่เรำรู้เรื่องของเคมบริดจ์ อะนำไลติก้ำ เรำเข้ำใจว่ำลบ ข้อมูลทั้งหมดแล้ว ซึ่งมันเป็นควำมผิดพลำดครั้งใหญ่ ซึ่ง จำกเรื่องนี้ เรำมีกำรปรับปรุงกฎในเฟซบุ๊กครั้งใหญ่ เพื่อให้ แน่ใจว่ำ จะไม่เกิดอะไรแบบนี้ขึ้นอีก”

แม้จะไม่สามารถมีบทลงโทษเชิงกฎหมายได้ แต่ชื่อเสียง ของ “เคมบริดจ์ อะนำไลติก้ำ” ในการ “ลักลอบใช้ข้อมูล ส่วนตัว” ก็โด่งดังไปทั่วโลก ส่งผลทาให้ไม่มีใครกล้าใช้ บริการของ “เคมบริดจ์ อะนำไลติก้ำ” อีก นั่นทาให้ วันที่ 2 พฤษภาคม 2018 “บริษัท เคมบริดจ์ อะ นำไลติก้ำ” ประกาศ “ปิดกิจกำร” อย่างกะทันหัน เช่นเดียวกับ “บริษัทแม่ SCL” ก็ต้องปิดกิจการไปพร้อมกัน

Page 5

For Internal Use Only

Made with FlippingBook Ebook Creator